เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic:เรารักกัน
เป้าหมาย(Understanding Goal):
- เข้าใจถึงความแตกต่างหลากหลายของแต่ละภูมิภาคทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ฯลฯเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงต่อช่วงเวลา เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เคารพ ยอมรับในความต่างนั้นและอยู่ร่วมกันอย่างศานติ
- เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงและการวิวัฒน์ของสังคมที่มีผลทั้งต่อความต้องการใช้ทรัพยากรอันจำกัด และวิถีการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป คุณค่า ความสำคัญของวิถี วัฒนธรรมดั้งเดิมที่งดงาม รวมทั้งตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรอันจำกัดสามารถจัดสรรมาใช้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

วันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557



Mind  Mapping




ภูมิหลังปัญหา

-          ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ในแต่ละภูมิภาคประกอบไปด้วยความแตกต่างหลากหลายทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ วิถีชีวิต ฯลฯ ที่มีความงดงาม มีคุณค่าและถูกบ่มเพาะ สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นภายใต้บริบทและปัจจัยที่แตกต่างกัน ปัจจุบันสังคมได้วิวัฒน์และเปลี่ยนแปลงไปจากวิถีเดิม จึงทำให้ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมที่งดงามค่อยๆสูญสลายไปตามกาลเวลา ขาดการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นดังเช่นอดีต คนรุ่นใหม่อาจไม่รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมที่งดงามบางอย่างเช่นการกิน การแต่งกาย ประเพณีพื้นถิ่น หรือแม้แต่ภูมิปัญญาที่มีคุณค่า ดังนั้นเราจึงต้องเรียนรู้เพื่อเข้าใจถึงความแตกต่างหลากหลายของแต่ละภูมิภาคทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ฯลฯเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงต่อช่วงเวลา เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เคารพ ยอมรับในความต่างนั้นนำมาปรับใช้กับการดำรงชีวิตและอยู่ร่วมกันอย่างศานติ 



ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL ( Problem Based Learning )
Topic : เรารักกัน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

Week
Input
Process
Output
Outcome
1-2
โจทย์  สร้างแรงบันดาลใจ
คำถาม
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter  นี้   เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการการดำเนินชีวิตของแต่ละภูมิภาค
 - Brainstorms แลกเปลี่ยนสิ่งที่เห็น และความรู้สึกของตนเอง
 - Mind Mapping สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
สารคดีเรื่องวิถีการดำเนิน
ชีวิตของแต่ละภาคบ้านเธอก็บ้านฉัน
บรรยากาศในห้องเรียน
กิจกรรม
วันจันทร์
ชมสารคดีแนะนำประเทศไทย
วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยววิถีการดำเนินชีวิตนักเรียนเห็นอะไร
วันอังคาร
-   ชมสารคดีวิถีการดำเนินชีวิต
ของแต่ละภูมิภาคให้นักเรียนชม
- สรุปสารคดีวิถีการดำเนินชีวิต
ของแต่ละภูมิภาค บ้านเธอก็บ้านฉัน
วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยววิถีการดำเนินชีวิตนักเรียนเห็นอะไร
วันพฤหัสบดี
-  ดูหนังสือนิทาน
วันศุกร์
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
ชาร์ตความรู้แนะนำประเทศไทย
สรุปสารคดีวิถีการดำเนินชีวิต
ของแต่ละภูมิภาค  “บ้านเธอก็บ้านฉัน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
การเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้
ทักษะการคิด
-  การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
การคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งงานตรงเวลา
มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
3
โจทย์  วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับโครงงานใน Quarter  นี้
นักเรียนจะตั้งชื่อโครงงานนี้ว่าอะไร เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น
-นักเรียนจะทำแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิภาคให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านนิทานสร้างสรรค์และน่าสนใจอย่างไร 

เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้  
- Round Rubin แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการวางแผนทำปฎิทินการเรียนรู้
- Think Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ปฎิทินการเรียนรู้,สิ่งที่รู้แล้ว  สิ่งที่อยากเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน

กิจกรรม
วันจันทร์
เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
วันอังคาร
เขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้
วันพฤหัสบดี
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
วันศุกร์
ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
ตั้งชื่อชื่อหน่วยการเรียนรู้
สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
วางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
ความรู้
ออกแบบวางแผนการเรียนรู้และเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
 ทักษะ :
ทักษะชีวิต
การเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม ทำปฏิทินการเรียนรู้
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการคิด
การคิดวางแผนให้สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
 -  การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำปฏิทินการเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4
โจทย์  ทำแบบจำลองภูมิศาสตร์แต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
คำถาม
ความแตกต่างด้านภูมิศาสตร์แต่ละภูมิภาคส่งผลต่อวิถีความของประชากรในแต่ละภูมิภาคอย่างไร
นักเรียนจะเลือกนำเสนอลักษณะทางภูมิศาสตร์ผ่านนิทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดความคิดร่วมกันเกี่ยวกับลักษณะพื้นที่ของแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทาน
Place Mat  การวิเคราะห์  วิพากษ์เกี่ยวกับลักษณะภูมิศาสตร์ของแต่ละภูมิภาค
สื่อ/อุปกรณ์
ดูคลิปวีดีโอ(ลักษณะพื้นที่ของประเทศไทย)
บรรยากาศในห้องเรียน
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ศึกษาจากแบบจำลองพื้นที่(ภูมิศาสตร์)และสร้างแบบจำลองภูมิศาสตร์
วันอังคาร
ดูคลิปวีดีโอ (ลักษณะพื้นที่ของประเทศไทยแต่ละภูมิภาค)
วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับ
ภูมิศาสตร์ของแต่ละภูมิภาค
วันพฤหัสบดี
เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอผ่านนิทาน
วันศุกร์
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
ชาร์ตความรู้เรื่องภูมิศาสตร์
แต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
นิทานภูมิศาสตร์
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
พูดคุยสนทนา วิเคราะห์    วิพากย์เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ในแต่ละภูมิภาค
วางแผนพูดคุยการนำเสนอชิ้นงาน
 - ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- เข้าใจความแตกต่างของลักษณะพื้นที่ ที่ตั้ง อาณาเขต ของแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย รวมทั้งถ่ายทอดเรื่องราวผ่านนิทาน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการสื่อสาร
-การแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-.สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
5
โจทย์  ความแตกต่างหลากหลายของประชากรและการดำรงชีวิตร่วมกัน
คำถาม
นักเรียนจะจำลองสถานการณ์  การดำรงชีวิตของประชากรในแต่ละภูมิภาคเพื่อนำเสนอถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
นักเรียนจะดำรงชีวิตภายใต้ความแตกต่างหลากหลายอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชากรในแต่ละภูมิภาค
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทาน
- Place Mat  การวิเคราะห์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชากรในแต่ละภูมิภาค
-  Card & Chart  ความแตกต่างมีผลต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
ชักเย่อความคิด  ความเหมือนดีกว่าความต่างจริงหรือ
สื่อ/อุปกรณ์
กระดาษการ์ด
กระดาษชาร์ต
คลิปวีดีโองานบวชของแต่ล่ะภูมิภาค
บรรยากาศในห้องเรียน
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
คลิปวีดีโองานบวชของแต่ล่ะภูมิภาค(ภาคเหนือ  ภาคกลาง  ภาคอีสาน  ภาคใต้)
สรุป วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับ
ความแตกต่างของประชากรในแต่ละภูมิภาค
วันอังคาร
-  ละครการแต่งกายของประชากรในแต่ละภูมิภาค
วันพฤหัสบดี
เลือกเรื่องที่ต้องการนำเสนอ
วันศุกร์
-  สร้างสรรค์ชิ้นงานนิทานของตนเอง
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
ละครสถานการณ์จำลองวิถีชีวิตในแต่ละภูมิภาค
นิทานประชากรในแต่ละ
ภูมิภาค
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
พูดคุยสนทนา วิเคราะห์     วิพากย์เกี่ยวกับควาแตกต่าง
ของประชากรในแต่ละภูมิ
ภาค

ความรู้
- เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลเรื่องประชากร เชื้อชาติ
ศาสนา ภาษา วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต เช่น การแต่งกาย การกิน ประเพณี ความเชื่อ
- สามารถสังเคราะห์ถึงความแตกต่างที่หลากหลายและนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
- สังเคราะห์เรื่องราวจากข้อมูลเพื่อนำไปปรับใช้ในการดำรงชีวิตและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวสู่ผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต:
 -  ทักษะการปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
ทักษะการสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
6
โจทย์   ประกอบอาหารประจำ 4 ภาค
คำถาม
วีถีการกินของแต่ละภาคแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms พูดคุยสนทนาวิเคราะห์       วิพากย์เกี่ยวเครื่องมือหาปลาที่มีในแต่ละภูมิภาค
- Place Mat  เลือกเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
- Show and Share  นำเสนอผลงานอาหารประจำภาค ละครภาษาแต่ละภูมิภาค
และ นิทาน
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
เครื่องมือหาปลาที่มีในแต่ละภูมิภาค
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับเครื่องมือหาปลาที่มีในแต่ละภูมิภาค(ภาคเหนือ  ภาคกลาง  ภาคอีสาน  ภาคใต้)
วันอังคาร
-  ประกอบอาหารประจำภาค(ภาคเหนือ  ภาคกลาง  ภาคอีสาน  ภาคใต้)
วันพฤหัสบดี
เลือกรูปแบบและสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
วันศุกร์
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวเครื่องมือหาปลาที่มีในแต่ละภูมิภาค
-  อาหารประจำภาค
-  ละครภาษาแต่ละภูมิภาค
-  นิทานวิถีชีวิต
 ภาระงาน
-   พูดคุยสนทนาวิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวเครื่องมือหาปลาที่มีในแต่ละภูมิภาค(ภาคเหนือ  ภาคกลาง  ภาคอีสาน  ภาคใต้)
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างหลากหลายของวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับภูมิศาสตร์
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  ทักษะการปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
- ทักษะการสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการแก้ปัญหา
- มีวิธีการในการค้นคว้าข้อมูลให้ตอบโจทย์กับสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
7
โจทย์  วัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ
คำถาม
ขนมธรรมเนียมประเพณีของคนในแต่ละภูมิภาคแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อในแต่ละภูมิภาค
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานแต่งเพลงพื้นบ้านและนิทานวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ
Place Mat  การวิเคราะห์เกี่ยวกับวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อในแต่ละภูมิภาค
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5  กลุ่ม   เลือกข้อมูลความหลากหลายทางวัฒนธรรม  ความเชื่อ   ประเพณี
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม  ความเชื่อ   ประเพณี

วันอังคาร
คลิปวีดีโอเพลงพื้นบ้านแต่ล่ะภูมิภาค(ภาคเหนือ  ภาคกลาง ภาคอีสาน  ภาคใต้)
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้านของแต่ละภูมิภาค
-  แต่งเพลงพื้นบ้าน
วันพฤหัสบดี
เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
วันศุกร์
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
แต่งเพลงพื้นบ้าน
นิทานวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ
 ภาระงาน
ศึกษาข้อมูลความหลากหลาย
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม  ความเชื่อ   ประเพณี
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้านของแต่ละภูมิภาค
เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
ความรู้
- เข้าใจความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ ของแต่ละภูมิภาค
- เคารพต่อความแตกต่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  ทักษะการคิดเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้และการดำรงชีวิต
ผ่านการลงมือทำชิ้นงานการแต่งเพลงพื้นบ้าน
ทักษะการสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
8
โจทย์  การทำหน้าที่บทบาทหน้าที่พลเมือง
คำถาม
นักเรียนจะดำรงชีวิตอย่างไรให้ยอมรับความแตกต่างหลากหลายรวมทั้งการเคารพสิทธิ์ของผู้อื่นได้
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี   ข้อตกลงในชุมชนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องบทบาทหน้าที่พลเมื่องที่ดี
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานแสดงละครบทบาทสมมุติเรื่องบทบาทหน้าที่  การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี   ข้อตกลงในชุมชน
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
คลิปยายหมาก
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ดูคลิปเด็กวัด
สรุป  วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกัน
วันอังคาร
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องบทบาทหน้าที่การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี   ข้อตกลงในชุมชนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องบทบาทหน้าที่พลเมื่องที่ดี
วันพฤหัสบดี
การแสดงบทบาทสมมุติเรื่องบทบาทหน้าที่  การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี   ข้อตกลงในชุมชน
วันศุกร์
เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ชิ้นงาน
สรุปเกี่ยวกับคลิปวีดีโอเรื่อง ยายหมาก
นิทานหน้าที่พลเมือง
 ภาระงาน
พูดคุยสนทนา วิเคราะห์   วิพากย์เกี่ยวกับคลิปวีดีโอเรื่อง เด็กวัด
การแสดงบทบาทสมมุติเรื่องบทบาทหน้าที่  การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี   ข้อตกลงในชุมชน
เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
 ความรู้
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น
- เคารพต่อบทบาทหน้าที่และปฎิบัติตามหน้าที่ตนเอง
- สามารถสังเคราะห์ถึงความแตกต่างที่หลากหลายและนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างภารดรภาพ
- สังเคราะห์เรื่องราวจากข้อมูลเพื่อนำไปปรับใช้ในการดำรงชีวิตและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวสู่ผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  ทักษะการปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
- เลือกสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนอย่างเหมาะสม
ทักษะการสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
9
โจทย์ ประเทศไทยในอนาคต
คำถาม
- ประเทศไทยในอนาคตจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใดจะเป็นเช่นนั้น
- นักเรียนอยากให้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคต
- Show and Share นำเสนอนิทานช่องประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า
 สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ภาพยนตร์เรื่อง 2012 วันสิ้นโลก
กิจกรรม
วันจันทร์
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ครูและนักเรียนนั่งล้อมวงเป็นวงกลมสนทนาเกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคตจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใดจะเป็นเช่นนั้น
- นักเรียนแต่ละคนวาดภาพประเทศไทยในอนาคต
วันอังคาร
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่ม กลุ่มล่ะ 3 คน ทำนิทานนิทานช่องเกี่ยวกับประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า
วันพฤหัสบดี
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอนิทานช่องประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้าให้ครูและเพื่อนฟัง
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ภาพวาดเกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคต
- นิทานช่องเกี่ยวกับประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สนทนาพูดคุยเกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคต
- นำเสนอนิทานช่องเกี่ยวกับประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า
ความรู้
- นักเรียนสามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย และประเทศไทยในอนาคตตามความคิดของตนเองได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- สามารถอธิบายการใช้อุปกรณ์ในการสร้างชิ้นงานได้
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลาย
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
- เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
- มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
10
โจทย์  สรุปองค์ความรู้
คำถาม
นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ โครงงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
-  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้

เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมดตลอดQuarter นี้
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานหนังนิทานภูมิภาคของประเทศไทย 
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน

กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนมาทั้งQuarter
วันอังคาร
นำเสนอนิทานทั้งในห้องและข้ามชั้นเรียน
วันพฤหัสบดี
วางแผนการเผยแพร่ความรู้
วันศุกร์
-  จัดนิทรรศการหนังสือนิทาน
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
หนังสือนิทาน
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
ภาระงาน
นำเสนอนิทานทั้งในห้องและข้ามชั้นเรียน
แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนมาทั้งQuarter
ความรู้
- สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองเข้าใจที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ภูมิภาคของประเทศไทยมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ชี้ให้เห็นคุณค่า แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
- สามารถการวางแผนการนำเสนอการเรียนรู้ที่ผ่านมาให้แก่ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้ในรูปแบบที่น่าสนใจ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  ทักษะการทำงานกลุ่ม สามารถปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
11
โจทย์  เผยแพร่องค์ความรู้
คำถาม
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนโครงงาน และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง

เครื่องมือคิด
- Brainstorms  กิจกรรมสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
- Card and Chart  สิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
 สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
- เพลงนิทานหิ่งห้อย
กิจกรรม
วันจันทร์
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-  วางแผนการนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจ
วันอังคาร
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
วันพฤหัสบดี
-ระดมความคิดเขียน  สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรปรับปรุง เกี่ยวกับการเรียนโครงงาน
วันศุกร์
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านการจัดนิทรรศการหนังสือนิทาน ให้เพื่อนๆ น้องๆได้ชม
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-  หนังสือนิทานภูมิภาคของประเทศไทย
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
 ภาระงาน
เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรปรับปรุง
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านนิทานและละคร
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ 
ความรู้
- สรุปสิ่งที่ตนเองเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล น่าสนใจ รวมทั้งสามารถประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
มีวิธีการวางแผนการแก้ไขปัญหาจากการทำงานและปฏิบัติได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- มีวิธีการในการศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆได้อย่างครอบคลุม
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
        - การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย





สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL
Topic : เรารักกัน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
ประเทศไทยมี 4 ภาค
ประเทศไทยมีประเพณีวิ่งควาย
อาหารแต่ละภาคแตกต่างกัน
คนไทยนับถือศาสนาพุทธ
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่ไม่เหมือนประเทศอื่น
คนในประเทศไทยรักกัน
ประเทศไทยมีเครื่องดนตรีไทย
ประเทศไทยมีทะเล
ประเทศไทยมีคนไทยมีน้ำใจต่อผู้อื่น
คนไทยใช้ชีวิตอยู่อย่างพอเพียง
ประเทศไทยมีเขาพนมรุ้ง
ประเทศไทยมีผ้าไหม
วันสำคัญของประเทศไทย
สถานที่สำคัญในประเทศไทย
ทำไมถึงเรียกชื่อว่าประเทศไทย
ประชากรในประเทศไทยมีกี่คน
ประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรบ้าง
ประเทศไทยมีกี่จังหวัด
ประเทศไทยมีกี่อำเภอ
ประเทศไทยมีศาสนาอะไรบ้าง
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนแต่ละภูมิภาค
อาหารแต่ละภาคเป็นอย่างไร
การแต่งกายของคนแต่ละภาค
ภาษาพูดของคนแต่ละภาคเป็นอย่างไร
คนไทยมีอาชีพอะไร
ประเทศไทยมีภูเขาไฟกี่ที่
ทำไมเด็กไทยต้องไปโรงเรียน
ประเทศไทยมีเขื่อนกี่แห่งที่ใดบ้าง
ประเทศไทยมีแม่น้ำกี่สาย


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่องโครงงานกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง : เรารักกัน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1/2557
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว  
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฎิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
มาตรฐาน 1.2
เข้าใจและสามรถอธิบายลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว ( 1.2 .3/1)
มาตรฐาน 2.1 
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ( 2.2 .3/1)
- เข้าใจและสามารถระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นและนำมาเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้ (2.2 .3/2)
- เข้าใจและสามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา และตามความสนใจ (8.1 .3/1)
- วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเองของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้าและ ตรวจสอบ
 ( 8.1 .3/2)
มาตรฐาน 5.1
 บอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตที่เป็นข้อคิดจากเรื่องเล่าได้
( 5.1 .3/3 )
มาตรฐาน 2.1 
บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่
หลากหลาย 
( 2.1 .3/2)
มาตรฐาน 2.2
เข้าใจและสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ตามกระบวนการประชาธิปไตย
I;,myh’สรุปและเปรียบเทียบความสำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนตนเองและชุมชนอื่นๆได้
(
4.2 .3/1-3)
มาตรฐาน 4.3 
เข้าใจและสามารถบอกเล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนในการปกป้องประเทศชาติในแต่ละภูมิภาค
( 4.3 .3/3)
มาตรฐาน 5.2 
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบันของแต่ละภูมิภาค
(
5.2 .3/1)
- อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นในแต่ละภูมิภาคของไทย   ( 5.2 .3/3)
มาตรฐาน 1.1
เข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวมmujgdbf-7ho.oc9j]t4^,b4k8
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ และสังคม
( 5.1 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
จัด รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด ( 3.1 .5/1)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)







สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์
- ลักษณะพื้นที่ ที่ตั้ง  อาณาเขต
- ภูมิประเทศ 
- ภูมิอากาศ
- ทรัพยากร


มาตรฐาน 1.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว และที่ดำรงพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน
( 1.2 .3/1)
มาตรฐาน 2.1 
- สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
- สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรม
ชาติในท้องถิ่นของแต่ละภูมิภาค
( 2.2 .3/1)
- เข้าใจและสามารถระบุการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น
( 2.2 .3/2)
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสำคัญของอากาศ 
( 6.1 .3/2)

มาตรฐาน 5.1
- เข้าใจและสามารถใช้แผนที่ แผนผัง  และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(
5.1 .3/1)
- เข้าใจและสามารถเขียนแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
( 5.1 .3/2)
- เข้าใจและสามารถบอกความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชนและภูมิภาคต่างๆของไทย ( 5.1.3/1-3)
มาตรฐาน  5.2
-เข้าใจและสามารถ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบันของแต่ละภูมิภาค
(
5.2 .3/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท
( 5.2 .3/4)
- ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน 
( 5.2 .3/5)
มาตรฐาน 1.1
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด  ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน 2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ง 2.1 3/2)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ง 2.1 3/3)
มาตรฐาน 3.1
- ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
(ง 3.1 3/1)
- ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่สนใจเกี่ยวกับภูมิศาสตร์
และเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 5 /1)

มาตรฐาน 3.2
- เลือกออกกำลังกาย  การละเล่นพื้นเมือง  และเล่นเกมที่เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และข้อจำกัดของตนเองและปฏิบัติตามกฎ  กติกา
( 4.1 .3/1-2)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ในงานที่ต้องการนำเสนอได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)


มาตรฐาน 1.2
เล่าความเป็นมาของงานศิลปะในท้องถิ่นได้
( 1.1 .3/1)

มาตรฐาน 4.1
- แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ( 4.1 .3/1)
- บอกวัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ( 4.1 .3/1)
- นับช่วง เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ( 4.1 .4/1)

มาตรฐาน 4.2
เข้าใจและสามารถระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนในแต่ละภูมิภาค
( 4.2 .3/1)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
- ความเชื่อ
-รูปเคารพ(ตัวแทนความเชื่อ  ความศรัทธา)

มาตรฐาน  8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
- ข้าใจความสำคัญ ความแตกต่างด้านความเชื่อของแต่ละภูมิภาคและสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้( 1.1 .3/1)
- ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตตามข้อคิดจาก เรื่องเล่า ตำนาน ในท้องถิ่นได้
( 1.1 .3/4)
มาตรฐาน 1.2
เคารพ ปฏิบัติตนและอยู่ภายใต้ความเชื่อที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
( 1.2 .3/2)
มาตรฐาน 2.1
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น
( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  1.1 
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด   ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(
2.1 .3/1)
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
- ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
(ง 3.1 3/1)

มาตรฐาน  2.1
- อธิ-  - วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ( 2.1 .3/2)

มาตรฐาน 1.2
เล่าความเป็นมาของงานศิลปะในท้องถิ่นที่ส่งผลมาจากความเชื่อ
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
ระบุลักษณะเด่น ความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่นที่ได้รับอิทธิพลมาจากความเชื่อ  ความศรัทธาต่อศาสนาที่ตนนับถือ
( 2.2 .3/2)

มาตรฐาน 4.1
- สืบค้นข้อมูลความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
(ส 4.1 ป.5/3)

  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ  ของแต่ละภูมิภาค
- ประชากร วิถีการดำเนินชีวิตของประชากรแต่ละภูมิภาค
- วัฒนธรรมอาหาร การกิน ของแต่ละภูมิภาค
- วัฒนธรรมการแต่งกาย  ภาษา เชื้อชาติ 
ศาสนา


มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 .3/1)
- วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง
ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้าและ ตรวจสอบ 
( 8.1 .3/2)




มาตรฐาน 1.1
- ข้าใจความสำคัญ ความแตกต่างด้านความเชื่อของแต่ละภูมิภาคและสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้( 5.1 .3/1)
- บอกข้อคิดการดำเนินชีวิตที่ได้จากเรื่องเล่าในท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาค( 5.1 .3/3)
- เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ประเพณีในท้องถิ่นที่ตนอาศัยและท้องถิ่นอื่นๆของแต่ละภูมิภาค
( 5.1 .3/6)
มาตรฐาน 1.1
- เข้าใจและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภารดรภาพและยอมรับความแตกต่างทางประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาครวมทั้งเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้ ( 5.1 .4/7)
มาตรฐาน  2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
- ค้นหาข้อมูล อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ 
( 3.1 .3/1)


















มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบาย วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
( 2.1 .3/2)

มาตรฐาน 1.2
- เล่าความเป็นมาของงานศิลปะในท้องถิ่นได้
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
- เข้าใจและสามารถระบุลักษณะเด่น ความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีพื้นถิ่นแต่ละภูมิภาคที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่นได้
( 2.2 .3/2)
มาตรฐาน 3.1
- มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสม
ตามวัย  ( 3.1 .3/4)




มาตรฐาน 4.2 
-เข้าใจและสามารถ ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมประเพณีซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิตในแต่ละยุคสมัย 
( 4.2 .3/1)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนในแต่ละพื้นถิ่น( 4.2 .3/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่น ในแต่ละภูมิภาค
( 4.2 .3/3)

  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
- ภาคเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคใต้
ยุคสมัย
- อยุธยา
- ธนบุรี
- รัตนโกสินทร์
มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 .3/1)

มาตรฐาน  2.1
- เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยในสมัยอดีต
ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายโครงสร้างอำนาจ หน้าที่และความสำคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่นในสมัยอดีตได้
( 2.2 .3/1)
มาตรฐาน  4.1
-  สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
( 4.1 .3/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางนำเสนอประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล ( 4.1 .3/2)
มาตรฐาน  2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบาย วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนในแต่ละยุคสมัยได้
( 2.1 .3/2)

มาตรฐาน 1.2
- เล่าความเป็นมาของงานศิลปะในท้องถิ่นได้
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
- ระบุลักษณะเด่น ความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่นในอดีตได้
( 2.2 .3/2)

มาตรฐาน 4.1
- นับช่วง เวลา แต่ละยุคสมัย เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ 
( 4.1 .4/1)
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของเวลา เหตุการณ์ในการศึกษาประวัติศาสตร์( 4.1 .1/1)


  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
- บทบาทหน้าที่ กฎหมาย
- วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในแต่ละภูมิภาค
มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 .3/1)

มาตรฐาน  2.1
- บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย 
( 2.1 .3/2)
- ปฎิบัติตนเป็นพลเมื่องดีตามวิถีประชาธิปไตยที่ดีของชุมชน
(ส 2.1 .4/1)
- ปฏิบัติตนเป็นผู้นำ
และผู้ตามที่ดี
(ส 2.1 .4/2)
- ยกตัวอย่างและ
ปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท  สิทธิเสรี
และหน้าที่พลเมืองดี
(ส 2.1 .5/1)
- เข้าใจและสามารอธิบายแต่ละยุคสมัยเห็นคุณค่าวัฒนธรรม
ไทยที่มีผลต่อการ
ดำเนินชีวิตในสังคม
ไทย (ส 2.1 .5/3)
- มีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน (ส 2.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.2 
- เข้าใจและสามารอธิบายแต่ละยุคสมัยระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)

มาตรฐาน  1.1 
- อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1.3/1)
มาตรฐาน  2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน 2.1
- อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง สามารถสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนได้ ( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)

มาตรฐาน  4.2
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่น จากอดีตถึงปัจจุบันที่มีต่อบทบาทหน้าที่ในแต่ละช่วงเวลา
(
4.2 .3/3)
- อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบันที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรรมและการดำรงชีวิตโดยสังเขป
(
4.2  .5/2)
มาตรฐาน 4.3 
- อธิบายภูมิปัญญาไทยที่ที่มีบทบาทหน้าที่แตกต่างหลากหลาย
(ส 4.3 ป.5/4)
  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ประเทศไทยในอนาคต

มาตรฐาน 2.1
- สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม                           
( 2.1 .3/4)
มาตรฐาน 2.2
- สำรวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ( 2.2 .3/1)
- ระบุการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ( 2.2 .3/2)                   
- อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติ 
( 2.2 .3/3)
มาตรฐาน  3.1
-เข้าใจและสามารถ อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุแต่ละชนิด
( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน 3.1
- เข้าใจและสามารถจำแนกความต้องการและความจำเป็น
ในการใช้สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต  ( 3.1 .3/1)
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ( 3.1 .3/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ
( 3.1 .3/3)
มาตรฐาน 5.2
- ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เสนอแนวคิดในการรักษาสภาพ แวดล้อมในภูมิภาคและหาแนวทางการป้องกันรักษาได้( 5.2 .3/3)


มาตรฐาน  2.1
- เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
ค้นหาข้อมูล อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ 
( 3.1 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
- เข้าใจและสามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต
(
1.1 .3/3)
มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบาย วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
( 2.1 .3/2)
- บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่นำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ
( 2.1 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
- จัด รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด ( 3.1 .5/1)

มาตรฐาน 1.1
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สีเป็นนิทานเรื่องเล่า ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานนิทาน  การ์ตูนได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)
มาตรฐาน 3.1
- มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสม
ตามวัย ( 3.1 .3/4)

มาตรฐาน 4.2
- อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านทีส่งผลต่อการดำรงชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
( 4.2 .6/1)
มาตรฐาน 4.3
- อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สำคัญที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ 
( 4.3 .6/4)

  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
การงานอาชีพฯ
สุขศึกษา
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
สรุปองค์ความรู้
 - Mind Mapping หลังเรียน
- ระดมความคิด
แสดงความคิดเห็น
ออกแบบสรุปองค์
ความรู้ผ่านทางหนังสือนิทานและ
การแสดงละคร
- ตอบคำถามสิ่งที่
อยากเรียนรู้
- เขียนสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงพัฒนา
- สะท้อนความคิดเห็นพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้ร่วมกัน
- นำเสนอการเรียนรู้
ผ่านทางหนังสือ
นิทานและการแสดงละคร


มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
( 8.1 .3/1)
- วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง
ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจ ตรวจสอบ ( 8.1 .3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบและบันทึกข้อมูล( 8.1 .3/3)
- เข้าใจและสามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำเสนอผล ( 8.1 .3/4)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้ ( 8.1 .3/6)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริง มีแผนภาพประกอบคำอธิบาย ( 8.1 .3/7)
- นำเสนอจัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ( 8.1 .3/8)
มาตรฐาน 1.1 :
- ข้าใจความสำคัญ ความแตกต่างด้านความเชื่อของแต่ละภูมิภาคและสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้
( 1.1 .3/1)
- ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตตามข้อคิดจาก เรื่องเล่า ตำนาน ในท้องถิ่นได้
( 1.1 .3/4)
มาตรฐาน 1.1
- สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภารดรภาพและยอมรับความแตกต่างทางประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาครวมทั้งเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้ ( 5.1 .4/7)
มาตรฐาน 1.2
- เคารพ ปฏิบัติตนและอยู่ภายใต้ความเชื่อที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
(
1.2 .3/2)
มาตรฐาน
2.1
- สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  2.2 
 - เข้าใจและสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มของ  ชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)


มาตรฐาน  1.1
- อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/1)
- ใช้วัสดุ  อุปกรณ์  และเครื่องมือ  ตรงกับลักษณะงาน( 1.1 .3/2)
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด ความรอบคอบและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1  
-เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันเพื่อนำเสนอสรุปหรือประมวลสิ่งที่เรียนเพื่อนนำเสนออย่างสร้างสรรค์( 2.1 .3/1)

มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ  และสังคม
( 5.1 .3/3)

มาตรฐาน 1.1
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สีผ่านภาพประกอบผลงาน ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)

มาตรฐาน 4.1 
- ใช้คำระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต 
(
4.1 .2/1)